วันอาทิตย์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

Quiz #2 Employee Self Services (ESS)

*** สวัสดีครับ เรียนกันไปหมาดๆ คงยังจำกันได้ดี ครั้งนี้ผม Post ไม่ผิดวิชาแน่นอน ไม่ต้องลังเลที่จะทำ

คำถาม มีดังนี้
.

*** ให้ทีมงานของท่านช่วยกันแสดงความคิดเห็น เรื่องโครงสร้าง ESS ทั้ง 3 รูปแบบ ในมุมมอง ต่อไปนี้
- ข้อดีข้อด้อยของแต่ละโครงสร้าง
- ถ้าท่านเลือก Implement ในบริษัทของท่าน จะเลือกรูปแบบไหน? เพราะอะไร ?

กลุ่มละไม่เกิน 6 ท่าน กำหนดส่งภายในวันที่ 19 กค . 2551 ก่อนเที่ยงคืน เขียนตอบใน blog นี้แหละครับ

*** ขอให้มีความสุขกับ วันหยุด พฤหัส - ศุกร์ นี้ และเสาร์-อาทิตย์ อย่าติดลมลืมมาเรียนนะครับ

41 ความคิดเห็น:

Love_Yui:) กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Be My Guest กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ภิญญดา บ้าน818 กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ภิญญดา บ้าน818 กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ภิญญดา บ้าน818 กล่าวว่า...

เรียนอ.พีรพรที่เคารพ ขอส่งงานค่ะ
QUIZ # 2 EMPLOYEE SELF SERVICE (ESS)
น.ส.นชาพร แซ่เหลี่ยน 492-04-1023
น.ส.ปัญจรส ยศกุล 492-04-1055
นายสมยศ มั่นนิธิวรกุล 492-04-1077
นางวันทนา ปรัชญาธเนศกุล 492-04-1078
นางปริศนา จักษ์ตรีมงคล 492-04-1079
น.ส.ภิญญดา อชิรเชาวภาส 492-04-1080



EMPLOYEE SELF SERVICE (ESS)
คือ รูปแบบของระบบการทำงาน การตอบคำถามและงานธุรการด้านบุคลากรจะเป็นแบบออนไลน์ผ่านทางอินทราเน็ต เพื่ออำนวยความสะดวกและบริการ ให้ผู้จัดการและพนักงานพึ่งตนเองได้ โดยสามารถเข้าไปทำธุรกรรมต่างๆ เช่น ด้านผลประโยชน์และค่าใช้จ่าย ข้อมูลด้านการจ้างงาน และเงินเดือน การทำเรื่องลากิจ ลาป่วย และหาคำตอบที่เกี่ยวกับข้อกำหนด ระเบียบปฏิบัติ

การนำ WEDSIDE มาใช้งาน จะทำให้พนักงานสามารถสอบถาม ข้อมูลต่างๆได้ตลอด 24 ชม. และพนักงานสามารถรับทราบขั้นตอนในการทำงาน และกระบวนการเพื่อให้ได้สารสนเทศ หรือความรู้ที่ต้องการได้ง่าย เป็นกลยุทธ์การให้ข้อมูลที่ไม่ซับซ้อนอะไร แต่ว่าองค์การที่จะนำกลยุทธ์นี้มาใช้ ควรเป็นองค์การขนาดใหญ่ มีพนักงานจำนวนมาก และมีเจ้าหน้าที่ IT ที่มีความสามารถ

ข้อดี ของกลยุทธ์นี้คือ พนักงานจะมี “เจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคลที่สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา” ซึ่งข้อมูลที่ได้จากเจ้าหน้าที่แบบนี้อาจช่วยให้พวกเขามีประสิทธิผลในการทำงานมากขึ้น การให้บริการผ่านทางเว็บไซต์เป็นการบอกเป็นนัยๆ ว่าฝ่ายทรัพยากรบุคคลตรวจสอบข้อมูลด้านงานธุรการย้อนหลังได้

ข้อด้อย คือ การที่พนักงานต้องรับผิดชอบงานธุรการด้านบุคลากรของตนเอง อาจทำให้ผลผลิตของพนักงานลดลง ต้นทุนด้านเวลาของเจ้าหน้าที่ระดับสูงจะสูงกว่าต้นทุนด้านเวลาของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ดังนั้นการที่พวกเขาต้องเอาเวลาดังกล่าวมาทำงานธุรการก็จะเป็นการใช้เวลาอย่างไม่คุ้มค่า และใช่ว่าพนักงานทุกคนจะสามารถใช้คอมพิวเตอร์หรือสามารถเข้าถึงระบบอินทราเน็ตได้ ซึ่งอาจทำให้มีการต่อต้านการทำธุรกรรมด้านบุคลากรผ่านระบบออนไลน์ ฝ่ายทรัพยากรบุคคลอาจต้องใช้เวลาในการฝึกอบรมพนักงานให้รู้จักและเคยชินกับการใช้อินทราเน็ตอย่างมาก

โครงสร้าง ESS ทั้ง 3 รูปแบบในมุมมอง ต่อไปนี้
ข้อดี – ข้อด้อย ของแต่ละโครงสร้าง
***โครงสร้าง ESS รูปแบบที่ 1 TYPE 1 DIRECT TO ERP

ข้อดี
1. มีฟังก์ชั่น เข้าไปดูข้อมูลตัวเองได้
2. ทำงานไม่ต้องมีเอกสาร
3. ประหยัดค่าใช้จ่ายสภาพแวดล้อม
4. เหมาะสำหรับบริษัท ที่มีลายเส้นพร้อมอยู่แล้ว
ข้อด้อย
1. มีข้อจำกัดลายเส้นใน ERP ที่พนักงานเข้ามาทำรายการ
2. ลายเส้น USER จะตรงเข้าซอฟแวร์โดยตรง ถ้าใช้งานพร้อมกันทีเดียวจะยุ่งยาก

โครงสร้าง ESS รูปแบบที่ 2 TYPE 2 INDIRECT TO ERP OR THER APPLICATION READ ONLY

ข้อดี
1. พนักงานสามารถใช้เว็บบราวเซอร์ เพื่อค้นหาสารสนเทศออนไลน์ในเรื่องข้อมูลส่วนตัวได้
2. พนักงานสามารถอ่านข้อมูลเพื่อทราบขั้นตอนในการทำงาน และกระบวนการที่ต้องการได้ง่าย
ข้อด้อย
1. บริษัทของเรามีโครงการเล็กไม่สามารถใช้ระบบได้ เพราะค่าลายเส้นแพงมาก ต้นทุนสูง
2. ทางบริษัทเพิ่งจะเริ่มต้น ไม่คุ้นเคย ในระบบ IT นี้
3. อ่านได้อย่างเดียว

โครงสร้าง ESS รูปแบบที่ 3 TYPE 3 INDIRECT TO ERP OF OTHER APPLICATION

ข้อดี
1. อ่านได้เขียนได้
2. ให้พนักงานได้มีส่วนร่วมในการจัดการ แก้ไขข้อมูลส่วนตัว การลา การเบิกค่าใช้จ่ายสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลบางส่วนที่จะขออนุมัติได้
3. มีการเสนอความคิดเห็นในการฝึกอบรม การขอเข้าอบรมในหลักสูตรที่พนักงานเห็นว่าจำเป็นในการพัฒนาตัวเอง เพื่อให้เหมาะสมกับแผนอาชีพที่ตนเองวางไว้
4. ช่วยลดความผิดพลาดในการจัดการ ข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคล และเพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการทำงาน ลดค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน
ข้อด้อย
1. มีการเข้าไปแก้ไขข้อมูลได้บางครั้ง ทำให้พนักงานให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความจริง
2. การที่พนักงานเข้าไปแก้ไขข้อมูลส่วนตัวบ่อยๆ ทำให้เราต้อง UP DATE ตลอดเวลา
3. การที่มีขั้นตอนมาก ทำให้ขบวนการทำงานช้าไม่รวดเร็ว


ถ้าท่านเลือก IMPLEMENT ในบริษัทของท่านจะเลือกรูปแบบไหน? เพราะอะไร
บริษัทของข้าพเจ้าทำเกี่ยวกับโครงการก่อสร้างบ้าน มีหลายบริษัท มีพนักงานหลายแผนก พนักงานแต่ละบริษัทจะเข้าไปดู NET WORK ของบริษัทที่เขาทำงานได้ ฉะนั้นข้าพเจ้าจึงเลือก TYPE 3 INDIRECT TO ERP OR OTHER APPLICATION เพราะ

1. เป็นระบบที่สัมพันธ์กัน และสามารถเชื่อมโยง ระบบต่างๆที่การจัดกระจายเข้าด้วยกันทำงานกับฐานข้อมูลเดียวกัน ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวกขึ้น
2. พนักงานสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายขึ้น เพราะ EMPLOYEE SELF SERVICE ที่มี CONCEPT การทำงานเหมือน WEB หรือ เครื่อง ATM ทำให้พนักงานสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ง่าย สะดวกตลอดเวลา
3. เพิ่มประสิทธิภาพงาน งาน HR ช่วยลดเวลาในการทำงาน เรื่องงานที่มีเอกสาร
4. การบริหารจัดการฐานข้อมูลอย่างมีระบบ ช่วยผู้บริหารสามารถได้รับข้อมูลที่ถูกต้องภายในเวลาที่รวดเร็ว เพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ และบริหารงานของระดับด้านบริหาร
5. พนักงานทุกคนสามารถเข้าไปปรับปรุงข้อมูลของตนเอง เช่น
- บันทึกที่อยู่ใหม่หากมีการย้ายที่อยู่
- บันทึกใบลาเพื่อเสนออนุมัติจากหัวหน้า
- การขอเรียกดูเงินได้ของตนเองในแต่ละเดือน
- การพิมพ์ใบรับรองเงินเดือน
6. มีระบบประเมินผลที่สามารถได้ในจากหลายมุม
7. มีระบบวัดทักษะ และความสามารถของพนักงานให้เหมาะสมกับตำแหน่งงานที่ได้รับมอบหมาย หรือกำลังจะได้รับมอบหมาย (SKILL & COMPETENCY)
8. ผู้บังคับบัญชา สามารถเข้าไปดูแลผู้ใต้บังคับบัญชาผ่านระบบ e-HR ได้ด้วยของแต่ละบริษัท
9. การวางแผนดูแลในเรื่องการพัฒนาบุคลากร และการพัฒนา COMPETENCY จะเป็นบทบาทที่เน้นงานเชิงกลยุทธ์มากขึ้น เพื่อมุ่งหวังสู่การเป็น STRATEGIC PARTNER ทางธุรกิจตลอดไป

kokkai-25 กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
kokkai-25 กล่าวว่า...

Employee Self Service (ESS)

เป็นระบบที่ช่วยให้พนักงานสามารถเรียกดูข้อมูลต่าง ๆของตนเองได้ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลส่วนตัวหรือรายได้ต่าง ๆ และนอกจากนั้นยังได้กำหนดฟังก์ชั่นการทำงานเพื่อให้พนักงานสามารถบันทึกคำร้องหรือเบิกสวัสดิการต่าง ๆ หรือบันทึกใบลาหรือปรับปรุงข้อมูลของตนเองได้ โดยผ่าน Web หรือ Intranet และเพื่อให้ผู้บริหารสามารถอนุมัติคำร้องต่าง ๆ ได้อย่างทันเหตุการณ์ ระบบนี้ยังมีในส่วนของปฏิทินประจำตัวของพนักงานแต่ละคนที่แสดงรายละเอียด Scheduleทีจะต้องทำให้แต่ละวันอีกด้วย
โครงสร้าง ESS ทั้ง 3 รูปแบบในมุมมอง มีดังนี้
1.Direct to ERP
ข้อดี
- USER สามารถเข้าดู แก้ไข ข้อมูลได้โดยตรง
- เหมาะสำหรับ บริษัท ที่มีลายเส้นพร้อมอยู่แล้ว
ข้อเสีย
- ERP ที่พนักงานเข้าทำรายการมีข้อจำกัด
- ถ้าใช้งานพร้อมกันจะยุ่งยากมาก
- ลายเส้น USER จะตรงเข้าซอฟแวร์โดยตรง
- ระบบอาจเกิดการผิดพลาดในกรณีมีผู้ใช้งาน
จำนวนมาก

2.Indirect to ERP (Read Only)
ข้อดี
- มีการใช้ Password เพื่อควบคุมข้อมูลให้เป็น
ระบบมากขึ้น โดยผ่านผู้ควบคุม
ข้อเสีย
- การแก้ไขข้อมูลต้องดำเนินการโดย Admin
ผู้ควบคุม บางครั้งอาจทำให้เกิดความล่าช้า
3.Indirect to ERP or other application
ข้อดี
-สามารถเข้าอ่านและแก้ไขข้อมูลได้ตามแต่ระดับ
ความสำคัญของแต่ละUSER
ข้อเสีย
-อาจล่าช้าและใช้ค่าใช้จ่ายสูงเนื่องจากมีการ
ดำเนินการหลายขั้นตอน


IMPLEMENT
บริษัท world pumps ที่ทำงานอยู่ เป็นบริษัทตัวแทนจำหน่ายเครื่องปั๊มน้ำจากประเทศญี่ปุ่น มีพนักงานหลายแผนก พนักงานแต่ละแผนกจะเข้าไปดู NET WORK ของบริษัทที่เขาทำงานได้ จึงเลือก TYPE 3 INDIRECT TO ERP OR OTHER APPLICATION เพราะ
1. เป็นระบบต่าง ๆที่กระจัดกระจายเข้าด้วยกัน และสามารถเชื่อโยงฐานข้อมูลเดียวกันระหว่างแผนกเพื่อสะดวกต่อการทำงาน
2.พนักงานสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายขึ้น เช่น พนักงานขายสามารถดูข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า และปริมาณสินค้าคงสต๊อกได้
3. การบริหารจัดการฐานข้อมูลอย่างมีระบบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ
4. ช่วยลดเวลาทำงานและประหยัดค่าใช่จ่าย
5. พนักงานสามารถปรับปรุงระบบข้อมูลของตนเองได้ เช่น
- เปลี่ยนแปลงข้อมูลส่วนตัวได้เอง เช่น จาก นส.เป็น นาง ฯลฯ
- หรือสามารถแจ้งที่อยู่ให้เป็นปัจจุบันมากขึ้น

kokkai-25 กล่าวว่า...

รายชื่อสมาชิกกลุ่ม(ขอต่อจากข้างบนค่ะ)
492-04-1020 คุณเสาวลักษณ์ หิรัญพฤกษ์
502-04-5016 คุณวิวัฒน์ เจริญพาณิชย์ศิริ
502-04-5018 คุณชฎารัตน์ ดอกจันทร์
502-04-5043 คุณอาจิณ จิรวัฒน์ไพบูลย์
502-04-5045 คุณชัยยะ วิทยาวงศ์รุจิ
502-04-5047 คุณรักชนก จันทร์ทวีพร

Kornwikarn Sukkai กล่าวว่า...

ERP ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning หมายถึง การวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรโดยรวม เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร

Employee Self Service (ESS) คือ ระบบการบริหารงานบุคคล ระบบใหม่ ทางบริษัทฯ ได้พัฒนามาโดยทำงานภายใต้ Organization หรือ ตามผังองค์กร โดยสามารถแบ่งระดับตามความเหมาะสม ที่ได้จัดทำขึ้นมาเพื่อลดขั้นตอนการทำงานที่ซ้ำซ้อน ด้วยระบบ Work Flow ตามระบบไปยังผู้รับภายในองค์กร เพื่อให้มีความสะดวกรวดเร็ว และตรวจสอบได้ พนักงานสามารถใช้ application ที่เกี่ยวข้องกับการงานข้อมูลของลูกจ้าง เช่น ข้อมูลส่วนตัว สวัสดิการ ค่าล่วงเวลา ค่าตอบแทนต่างๆ โดยทางบริษัทฯ สามารถกำหนดสิทธิการเข้าใช้ของพนักงานได้

ระบบ ESS มี 3 รูปแบบ โดยให้บอกข้อดีข้อด้อย
แบบที่ 1 เป็นแบบที่ Direct to ERP
ข้อดี
1.ระบบมีขนาดเล็ก ทำให้ประหยัดทรัพยากร
2.การกำหนดฟังก์ชันในการใช้งานสามารถสร้างได้ง่าย
ข้อด้อย
1.การใช้งานมีความยุ่งยากในการใช้ เพราะไม่มีในส่วยช่วยในการจัดการ
2.User จะเข้ามาใช้ระบบน้อยอันเนื่องมาจากวิธีการใช้งานกระทำได้ยาก

แบบที่ 2 เป็นแบบ Indirect to ERP or other application Read only
ข้อดี
1.ระบบมีส่วนในการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นมาทำให้ User สามารถเข้าถึงฟังก์ชันการใช้งานได้ง่าย
2.ระบบสามารถกำหนดสิทธิในการทำงานระบบให้กับ User ได้
ข้อด้อย
1.ระบบมีค่าใช้จ่ายมากขึ้นในส่วนของการบริหารจัดการ
2.ระบบจะสามารถใช้งานแบบ Read only ซึ่งไม่สามารถปรับหรือเพิ่มการทำงานได้ทำให้มีข้อจำกัดในการใช้งาน

แบบที่ 3 เป็นแบบ Indirect to ERP or other application
ข้อดี
1.ระบบมีส่วนในการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นมาทำให้ User สามารถเข้าถึงฟังก์ชันการใช้งานได้ง่าย
2.ระบบสามารถกำหนดสิทธิในการทำงานระบบให้กับ User ได้
3.ระบบสามารถปรับปรุง-เพิ่มฟังก์ชันการทำงานทำให้ระบบมีความเสถียรภาพ ใช้ได้กับกิจการที่มีแผนกจำนวนมาก และมีขั้นตอนในการทำงานมาก ระบบจะสามารถปรับ-แก้ไข-เพิ่มเติม ให้
ข้อด้อย
1.ระบบมีค่าใช้จ่ายมากขึ้นในส่วนของการบริหารจัดการ
2.ต้องมีผู้ดูแลระบบที่มีความเชี่ยวชาญ

ถ้าท่านเลือก Implement ในบริษัทของท่าน จะเลือกรูปแบบไหน? เพราะอะไร ?
-เลือกใช้แบบที่ 3 เนื่องมากจากในบริษัทมีแผนกที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก โดยมีฟังก์ชันในการใช้งานในแต่ละแผนกที่แตกต่างกัน และระบบงานจะมีการเพิ่มข้อมูลอยู่ตลอดเวลา จึงจำเป็นที่จะต้องมีส่วนบริหารจัดการ ESS และต้องมีการกำหนดสิทธิของพนักงานในการใช้งานด้วย และทางบริษัทประกอบกิจการเกี่ยวกับทางด้าน IT จึงมีพนักงานที่มีความรู้ความสามารถในการบริหารระบบได้ทั้งทางด้านอุปกรณ์ และโปรแกรมโดยไม่ต้องจ้างผู้ดูแลระบบมาโดยเฉพาะ

493-04-1047 นส.กรวิกานต์ สุขกาย

สุขภาพดี-24 กล่าวว่า...

สมาชิกกลุ่ม
นนทิชัย ดวงดารา 501-04-5020
น้อม ฉิมคล้าย 501-04-50

อิสระพงศ์ ปัญจะรัศมี 501-04-5009
กรรณิกา บุญสุข 501-04-5005

ฐิตชา ผ่องไพบูลย์ 501-04-5017
ก สิริธัญญ์ บุญรักษ์ 501-04-5029

สุขกมล ทรัพย์ดีมงคล 501-04-5032

ข้อดีและข้อเสียของทั้ง 3 ระบบ

1.Type 1: Direct to ERP
ข้อดี
- สามารถ Control ข้อมูลของแต่ละบุคคลให้เป็น Center เดียวกันทั้งบริษัท ฯ หมายถึงทุกหน่วยงานหรือผู้ได้รับการ Authorized ในแต่ละ Level สามารถรับรู้ได้
- Inform ให้ทุกๆหน่วยงานทราบได้อย่างสะดวกและเปิดเผยทันที่
ข้อเสีย
- ข้อนี้สำคัญที่สุด คือ มีปัญหาที่ระบบ Security เพราะเนื่องจาก User สามารถ Log-In เข้าที่ฐานข้อมูล
(Database) ที่เก็บข้อมูลของแต่ละบุคคลเอาไว้ได้โดยตรง หากระบบ ESS ดังกล่าวไม่มีระบบป้องกันที่ ดีจะมีปัญหาเรื่องความลับด้านงานบุคคลรั่วไหล

2. Type 2 : Indirect to ERP or Application (Read only)
ข้อดี
- มีการ Log-In ด้วย User และ Password ผ่านระบบ E-Mail สามารถระบุตัวตนและลำดับชั้นการเข้าถึงข้อมูลได้ดี
- สามารุถจัดทำ Application เช่น Report ต่างๆ ของงานบุคคลได้หลากหลาย แยกจากกันโดยอิสระ
- เนื่องจาก Run ผ่าน ESS Base ดังนั้นหน่วยงานต่างๆ สามารถเพิ่ม Function ต่างๆ เช่น เพิ่ม Career Path ของฝ่ายขาย หรือการจัดกะของฝ่ายผลิต เป็นต้น
ข้อเสีย
- การวิเคราะห์หรือการคำนวณที่มีความยุ่งยากและมีข้อมูลปริมาณมากซึ่ง User ไม่สามารถดำเนินการเองได้
- การ Run ผ่าน ESS Base เดียวกัน อาจมีปัญหาความล่าช้า จึงขึ้นอยู่กับ Software ที่นำมา Run เช่น Program Window ต่างๆ ต้องเลือกให้ดีและเหมาะสม

3. type 3 : Indirect to ERP or Application (Read and Write)

ข้อดี
- เนื่องจาก Read ได้ และ Writeได้ จึงสะดวกเป็น Real-Time
- update ข้อมูลได้ตลอดเวลา
-
ข้อเสีย
-เพราะระบบเปิดให้ User สามารถแก้ไขจะทำให้ไม่มีความแน่นอนของข้อมูล นำไปวิเคราะห์ได้ยาก

-มีปัญหาที่ระบบ Security

-การเปิดให้ Read and Write หากไม่มีการป้องกันข้ามหน่วยงานจะมีความยุ่งยากมากมาย

การ Implement ระบบ

การนำ ระบบ ESS มาใช้ตามความเห็นน่าจะขึ้นอยู่กับขนาดขององค์กรและประเภทธุรกิจนั้น สำหรับที่บริษัทนั้นเป็นธุรกิจผลิตสินค้าจำหน่ายทั้งในและต่างประเทศ มีใช้ระบบ ERP ของ Microsoft Axapta โดย
เพิ่มเติม Module ของ ESS เข้าไปในระบบด้วย โดยเลือกใช้เป็นแบบ Type 2: Indirect to ERP or Application (Read only) โดยเชื่อมกับ ERPเข้ากับ Menu : Human Resource ที่มี 2 Applicaton คือ
1. employee (ID Code,Name/ Surname/Dept.)
2. Report (Career Path, Leave, Vacation, Welfare, Other)



สาเหตุที่เลือกใช้ Type2 : Indirect to ERP or Application (Read only)

สิ่งที่องค์กรคำนึงถึงมี 2 ลำดับสำคัญ คือ

1.ความสะดวกในการทำงาน

2.ระบบ Security

1. ความสะดวกในการทำงาน
เนื่องจากพนักงานจำนวน 800 คน การบริหารจัดการมีความแตกต่างกันไป โดยประกอบด้วย
-ฝ่ายขาย (Profit Center)
-ฝ่ายอำนวยการ (Admin)
-ฝ่ายปฏิบัติการ (Operation)
การนำ ESS แบบ Indirect to ERP or Application (Read only) เพราะ พนักงานมีทั้งคนที่ทำงานเป็นกะ (8 ชั่วโมงตามกฏหมาย) และทำงานตามรอบปกติ (8.30-17.00 น) ดังนั้นในส่วนของพนักงานฝ่ายขาย(Profit Center) และ ฝ่ายอำนวยการ(Admin) พนักงานสามารถเข้าไปทำธุรกรรมส่วนตัวเป็นเครือง PC ส่วนบุคคล โดยพนักงานฝ่ายปฏิบัติการจะมีเครื่องส่วนกลางไว้บริการ(Stand Alone) เป็นเครือง ดังนั้นจึงสร้างความสะดวกสบาย และที่สำคัญ Office และโรงงานอยู่แยกกัน ผู้บริหารตามสายงานงานตามลำดับชั้นจะอยู่แยกกัน พนักงานสามารถเข้าไป Key ข้อมูลหรือทำธุรกรรมต่างๆ เพื่อรอการอนุมัติตามลำดับขั้นได้ตลอดเวลา

2.ระบบ Security
ด้วยแนวคิด “ ความสะดวกต้องมาพร้อมความปลอดภัย” ดังนั้นทั้งระบบ type:1 Direct to ERP และ Type 3 : Indirect to ERP or Application (Read and Write) น่าจะเป็นอันตรายมากสำหรับการที่สามารถเข้าถึง Database และ write ได้ ดังนั้นการเลือกใช้ 2 แบบนี้ต้องดูความเหมาะสมให้ดี
เพราะ Personal Information โดยเฉพาะ Salary หรือ income ต่างๆ หากหลุดออกไป หลายๆ องค์กรตกม้าตายมาเยอะแล้วครับ.

clubzuza กล่าวว่า...

หวัดดีค่ะอาจารย์

หนูกลุ่ม clubzuza ที่เรียนวันเสารน์อะค่ะ

ตกลงอาจารย์สั่ง Quiz กี่งานอะคะ

หนูงงมากมายเลยค่ะ

Peraporn C. กล่าวว่า...

*** เรียนวันเสาร์ ดูที่ blog3312 อ๊ะไม่ต้องงงมากมาย มี 2 งาน
quiz#1 Sarah
quiz#2 TPS

ถ้าไปไม่ถูก click link แนะนำblog3312 ต่อจาก บ้านอบอุ่นรุ่น 24 จ้า!!!!

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

เรียน อ.พีรพร เรื่องขอส่ง quiz#2 ครับ
1.นายณัฐพงศ์ ประพฤติชอบ 503-04-5003
2.นายสุขสวัสดิ์ ฟองชัย 503-04-5018
3.นายณกรณ์ เขาสมบูรณ์ 503-04-5021
4.นายกฤษกร อ่วมโพธิ์ 503-04-5028
5.นายศราวุธ ทรัพย์เวชการกิจ 503-04-5049
6.นายภพชัย ภุมมาบุตร 503-04-5053

Employee Self Services (ESS)
การนำเอาแนวความคิดที่จะใช้เทคโนโลยี ประเภท Internet มาประยุกต์ใช้เข้ากับงานบริหารบุคคล โดยการที่ให้พนักงานทุกระดับชั้น (Employee View) สามารถใช้งานโปรแกรมบริหารบุคคลด้วยตนเองและขอบริการต่างๆเช่นการขอลาหยุดทำงาน ,การขอทำล่วงเวลา ,ประวัติการรับเงินเดือนและตำแหน่ง , ข้อมูลการอบรมต่างๆ เป็นต้น อีกทั้งเป็นการประหยัดต้นทุนในการใช้กระดาษ , การจัดส่งเอกสารและเวลาในการติดต่อสื่อสาร ทั้งนี้มีองค์ประกอบหลายประการที่ต้องคำนึงถึงดังนี้ ระบบรักษาความปลอดภัย ,การออกแบบรองรับจำนวนผู้ใช้ , ความเสถียรของระบบทั้ง Software , Hardware และที่สำคัญที่สุดคือความพร้อมของผู้ใช้งาน ซึ่งระบบมีประโยชน์แก่พนักงานในองค์กรนั้นๆ เช่น กลุ่มพนักงานทั่วไป , กลุ่มพนักงานในแผนกทรัพยากรมนุษย์ และกลุ่มผู้บังคับบัญชา โดยการขอบริการต่างๆในระบบให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัทฯ กำหนด ในส่วนHR ก็สามารถบันทึกแก้ไข ด้วยตนเอง ทั้งเสนออนุมัติตามสายบังคับบัญชาส่งผ่านระบบ Workflow เป็นต้น
โครงสร้าง Employee Self Services (ESS) ทั้ง 3 รูปแบบในความเห็นมีข้อดีข้อด้อย ของแต่ละรูปแบบดังนี้
รูปแบบที่1 Type 1 DIRECT TO ERP
ข้อดี
1.พนักงานสามารถเข้าไปดูและขอใช้บริการ พร้อมทั้งแก้ไขในระบบได้ด้วยตนเอง
2.ระบบไม่ซับซ้อน การลงทุนไม่สูง
3.เหมาะกับองค์กรขนาดเล็ก
ข้อด้อย
1.ข้อจำกัดในระบบ
2.ความปลอดภัยในการป้องกันระบบ
รูปแบบที่ 2 Type 2 INDIRECT TO ERP or other application
Read only
ข้อดี
1.มีการกำหนดสิทธิของพนักงานผ่าน PASSWORD เพื่อควบคุมการใช้
2.พนักงานสามารถเข้าไปดูและอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถแก้ไขได้
ข้อด้อย
1.พนักงานดูและอ่านได้อย่างเดียว
2.ข้อจำกัดในการใช้ระบบ

รูปแบบที่ 3 Type 3 INDIRECT TO ERP or other application (Read & Write)
ข้อดี
1.ระบบมีการจัดการมากขึ้น ง่ายต่อการใช้
2.ระบบสามารถเข้าไปแก้ไขข้อมูล เพิ่มเติมได้
3.ระบบมีการกำหนดสิทธิของพนักงานชัดเจน ตาม Workflow ที่กำหนด
4.ระบบมีความเสถียรภาพมากขึ้น ตามจำนวนผู้ใช้
ข้อด้อย
1.การลงทุนค่อนข้างสูงกับการรองรับปริมาณผู้ใช้ระบบ
2.ระยะเวลาในการเตรียมระบบนาน

ในการเลือก Implement นั้น จะพิจารณา รูปแบบที่ 3 INDIRECT TO ERP or other application (Read & Write) เนื่องจากบริษัทฯ ทำธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งประกอบด้วยหลายหน่วยงานที่ต้องมีความสัมพันธ์ในระบบ เช่น ฝ่ายออกแบบกำหนดรูปแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆ
ฝ่ายขายสามารถรับรู้ข้อมูลผลิตภัณฑ์นั้น ฝ่ายก่อสร้างมีแบบแผนการก่อสร้างที่ชัดเจนเป็นต้น ทั้งนี้ระบบยังรองรับระบบฐานข้อมูลแต่ละหน่วยงานที่มีความสัมพันธ์ตาม Workflow ในบริษัทฯ และพนักงานสามารถดูข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้แบบ Realtime ตลอดเวลาโดยข้อมูลที่เกี่ยวข้องนั้นจะเป็นข้อมูลที่ Update มีความถูกต้องอยู่เสมอไม่ว่าจะเป็น กฎระเบียบข้อบังคับในการปฏิบัติงาน ข่าวสารต่างๆภายในองค์กร ขั้นตอนการปฎิบัติในองค์กร เช่น การลา ประเภทต่างๆหรือปฏิทินวันสำคัญต่างๆที่มีผลกับองค์กรหรือแม้แต่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวพนักงานเอง เช่น ยอดขาย เงินเดือน ค่าประกันสังคม และข้อมูลการเสียภาษีของตัวพนักงานเอง รวมถึงข้อมูลพื้นฐานของตัวพนักงานไม่ว่าจะเป็นคำนำหน้าชื่อ ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์ติดต่อที่พนักงานสามารถแก้ไขเองได้ นอกจากนั้นระบบยังสามารถเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลของราคาขาย การส่งเสริมการขาย หรือส่วนลดและโปรโมชั่นต่างๆที่ทางผู้บริหารกำหนดมา

TripTourTeam กล่าวว่า...

492-04-1025 น.ส.ยุวดี ศรีอัจฉริยะ
492-04-1070 น.ส.ฐาปนี ดีดอน
492-04-1071 นาง ศิริพันธ์ พูลเจริญ
492-04-1072 นาง พรทิพย์ สิริเชาวน์เลิศ
492-04-1076 นาง เสาวณี อนุกูล

ระบบบริหารข้อมูลด้วยตัวพนักงานเอง Employee Self Services (ESS)
ระบบบริหารข้อมูลด้วยตัวพนักงานเอง (ESS) คือระบบที่อนุญาตให้พนักงานสามารถเรียกดูหรือปรับปรุงข้อมูลส่วนตัวให้ทันสมัยอยู่ได้ด้วยตนเอง เช่น
- การดูระเบียบและข้อบังคับในการปฏิบัติงาน
- ข้อมูลสถิติการลางานของตนเอง
- ข้อมูลด้านการจ้างงานและเงินเดือน ข่าวสารใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในและภายนอกองค์กร
- ปฏิทินกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร ตารางวันหยุด-วันทำงานขององค์กร
- ขั้นตอนการปฏิบัติในองค์กร เช่น การลาประเภทต่างๆ ระเบียบเกี่ยวกับการใช้สวัสดิการ
- ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การติดต่อกับหน่วยงานราชการ
- ด้านภาษีเงินได้ สิทธิเกี่ยวกับประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทน เป็นต้น
โดยผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ Web Browser หรือ Intranet ที่องค์กรจัดไว้ภายในสถานที่ทำงาน (Kiosk) ดังนั้นระบบ ESS ทำให้แผนกบุคคลไม่ต้องเสียเวลายุ่งยากในการจัดเก็บและดูแลข้อมูลทั้งหมดของพนักงานและเพื่อให้ผู้บริหารสามารถอนุมัติคำร้องต่าง ๆ ได้อย่างทันเหตุการณ์ ระบบงานนี้ยังสามารถแสดงข้อความเตือนล่วงหน้าสำหรับประเภทงานที่รอการอนุมัติ ทั้งนี้การเข้าถึงข้อมูลจะกำหนดสิทธิ์ของผู้ใช้งานอย่างเป็นระบบเพื่อป้องกันความปลอดภัยของฐานข้อมูล
ข้อดี
- อำนวยความสะดวกให้กับพนักงานด้วยระบบบริการข้อมูลออนไลน์ เช่น แก้ไขที่อยู่ ขออนุมัติวันลา ขอเข้าฝึกอบรม และอื่นๆ
- จัดเก็บหรือปรับปรุงข้อมูลได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ประหยัดทรัพยากร (กระดาษ) และข้อมูลที่ได้มีความสมบูรณ์ ถูกต้อง และล่าสุด
- มีเวลาเพิ่มขึ้นในการวางแผนพัฒนาองค์กรในด้านอื่นๆ
- หัวหน้าสายงานสามารถอนุมัติหรือไม่อนุมัติเรื่องต่าง ๆ ได้
ข้อเสีย
- พนักงานมีภาระความรับผิดชอบงานธุรการด้านบุคลากรของตนเองอาจทำให้ประสิทธิผลของพนักงานน้อยลง
- ต้นทุนด้านเวลาของเจ้าหน้าที่ระดับสูงจะสูงกว่าเจ้าหน้าที่ทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะก่อให้เกิดการใช้เวลาอย่างไม่คุ้มค่า
- ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์อาจต้องใช้เวลาในการฝึกอบรมให้พนักงานมีทักษะในการใช้อินทราเน็ตอย่างมาก

ข้อดี-ข้อด้อยของ ESS แต่ละโครงสร้าง คือ
แบบที่ 1 Direct to ERP คือการเข้าถึงข้อมูลที่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ โดยพนักงานจะมี License ประจำตัวแต่ละคน
ข้อดี
- พนักงานสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลของตนเองได้
- ลดขั้นตอนการดำเนินงาน
- ลดงานด้านการจัดเก็บเอกสาร
ข้อด้อย
- ด้านความปลอดภัยหากพนักงานเก็บรักษา Password ของตนเองไม่ดีอาจมีผู้อื่นนำไปกลั่นแกล้งได้
- มีข้อจำกัดด้าน License ที่เข้าสู่ ERP เนื่องจากเป็นแบบ Direct ถ้ามีจำนวน user มาก ก็ต้องเสียค่า License มากด้วย เพราะค่า License มีราคาแพง
- ต้องมีการจัดสรรการใช้ที่ดีเมื่อมีผู้เข้ามาใช้พร้อม ๆ กันหลายคน

แบบที่ 2 Indirect to ERP of Other Application Read only
ข้อดี
- ประหยัดค่า License เนื่องจากมีการสร้าง data base ขึ้นมาอีกตัวหนึ่ง ซึ่ง data base ที่สร้างขึ้นมาใหม่นี้จะเก็บข้อมูลบางส่วนไว้ทำให้เราดูข้อมูลได้จากตรงนี้ ซึ่ง data base ตัวนี้จะเชื่อมต่อไปยัง ERP โดยใช้เพียงแค่ 1 License เท่านั้น
- มีความปลอดภัยในเรื่องของข้อมูลเพราะว่าพนักงานไม่สามารถแก้ไขข้อมูลของตนเองได้ ซึ่งพนักงานอาจใส่ข้อมูลที่ไม่ตรงตามความเป็นจริง
- เมื่อทำการ maintenance ที่ ERP นั้น data base อีกตัวที่เราสร้างขึ้นมาก็ยังใช้งานได้อยู่ หรือถ้าหากเรา maintenance ที่ตัว data base ที่สร้างขึ้น ERP ก็ยังสามารถใช้ได้อยู่ไม่เกี่ยวข้องกัน ทำให้เกิดความคล่องตัวในการทำงาน
ข้อด้อย
- อ่านได้อย่างเดียวไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้ทำให้ข้อมูลบางส่วนไม่มีการอัพเดท
- มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจากการสร้าง data base

แบบที่ 3 Indirect to ERP or Other Application
ข้อดี
- ลดภาระด้านการจัดเก็บเอกสาร
- ประหยัดค่า License เนื่องจากมีการสร้าง data base ขึ้นมาอีกตัวหนึ่ง ซึ่ง data base ที่สร้างขึ้นมาใหม่นี้จะเก็บข้อมูลบางส่วนไว้ทำให้เราดูข้อมูลได้จากตรงนี้ ซึ่ง data base ตัวนี้จะเชื่อมต่อไปยัง ERP โดยใช้เพียงแค่ 1 License เท่านั้น
- สามารถดูและเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลได้ทำให้ข้อมูลมีการอัพเดทตลอดเวลา
- ประหยัดเวลาในการบริหารจัดการด้านทรัพยากรบุคคล
ข้อด้อย
- ด้านความปลอดภัยอาจมีผู้กลั่นแกล้งเข้าไปแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลอื่นได้
- พนักงานบางคนอาจแก้ไขข้อมูลที่ไม่ตรงตามความเป็นจริง
- มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจากการสร้าง data base
- ด้านความปลอดภัยของข้อมูล ต้องเก็บรักษา Password เป็นความลับ ถ้ามีบุคคลอื่นแอบรู้ Password จะทำให้สามารถเข้าไปกลั่นแกล้งแก้ไขข้อมูลได้
- ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานกับผู้บริหารลดลง

บริษัทที่ทำงานอยู่ เป็นธนาคารซึ่งมีสาขาอยู่ทั่วประเทศกว่า 500 สาขา พนักงานประมาณ 9 พันคน ถ้าเลือก IMPLEMENT จะเลือก TYPE 2 เพราะว่า
- พนักงานสามารถรับทราบข้อมูลข่าวสารได้พร้อมกัน โดยช่วยลดข้อผิดพลาดด้านการสื่อสาร
- มีพนักงานเป็นจำนวนมากจึงต้องใช้ TYPE 2 เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล
- ป้องกันการให้ข้อมูลที่ไม่เป็นจริงของพนักงาน
- สามารถตรวจสอบเอกสารก่อนมีการแก้ไขข้อมูลเพื่อความถูกต้องและเป็นจริง
- ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเสียค่า License
- ลดงานด้านการตรวจสอบข้อมูล

TripTourTeam กล่าวว่า...

1. นางเกวรินทร์ ทิศาเลิศไพศาล 492-04-1057
2. นางฐิติพรรณ วณิชประสิทธิ์ 492-04-1058
3. นางพัชรินทร์ หินอ่อน 492-04-1059
4. นางภันทนี อึ้งอร่าม 492-04-1063
5. นายโกมล อึ้งอร่าม 492-04-1064
6. นายเทพฤทธิ์ อึ้งอร่าม 492-04-1065
7. นางภัทรจิรา พาร์สันส์ 501-04-5041

จุดเด่น-จุดด้อยของแต่ละโครงสร้าง
รูปแบบที่1 Direct to ERP
จุดเด่น
1.Userสามารถเข้าไปแก้ไขข้อมูลได้ด้วยตนเองโดยตรง
2.ประหยัดทรัพยากร เพราะระบบมีขนาดเล็ก
3.ทุกฝ่ายในบริษัทรับรู้ข้อมูลในแต่ละระดับที่สามารถรับรู้ได้ ทำให้มีความเข้าใจและรับรู้ในข้อมูลที่ตรงกัน
จุดด้อย
1.มีปัญหาด้านความปลอดภัย เนื่องจากUser สามารถเข้าไปยังฐานข้อมูลได้โดยตรง จึงอาจมีปัญหาข้อมูลรั่วไหลได้ ถ้าไม่มีระบบป้องกันที่ดีพอ

รูปแบบที่2 Indirect to ERP (Read only)
จุดเด่น
1.มีการใส่ UsernameและPassword ทำให้มีความปลอดภัยในระดับหนึ่ง
2.สามารถทราบได้ว่าใครเป็นคนเข้ามาดูข้อมูล โดยดูผ่านUsername
3.มีการจัดทำเป็นระบบมากขึ้น แยกฝ่ายออกจากกันได้
จุดด้อย
1.มีการใช้งานแบบอ่านได้อย่างเดียวจึงมีข้อจำกัดในการใช้งานอยู่บ้าง
2.การแก้ไขต้องผ่านAdminเท่านั้น ทำให้เกิดปัญหาความล่าช้า

รูปแบบที่3 Indirect to ERP of other Application
จุดเด่น
1.สามารถแก้ไขข้อมูลและตรวจสอบโดย Userได้ จึง ช่วยลดความผิดพลาดของข้อมูลได้ทางหนึ่ง
2.มีการเสนอความคิดเห็น ตอบสนอง ทำให้สามารถเก็บFeedbackได้
3.ข้อมูลมีการUpdateแบบReal time แทนที่จะต้องรอAdminมาแก้ไข
จุดด้อย
1.ข้อมูลที่ได้จากUserนั้น อาจไม่ถูกต้อง จึงต้องทำการวิเคราะห์ข้อมูลก่อน
2.ปัญหาเรื่องความปลอดภัของระบบ เนื่องจากเป็นระบบเปิดจึงต้องควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด

ทางบริษัทนั้น เป็นบริษัทไม่ใหญ่มาก มีพนักงานจำนวน150 คน จึงเลือกใช้แบบแผนที่2 เพราะ
1.เมื่อเทียบกับแบบแผนที่1และ3จะปลอดภัยกว่า ทำให้ไม่ต้องลงทุนทางด้านความปลอดภัยมากเท่ากับอีก2แบบ
2.จำนวนพนักงานมีไม่มาก เหมาะสมกับระบบที่2
3.เมื่อมีการติดต่อจากUserเข้ามา จะทำเป็นreportหรือข้อเสนอแนะ เป็นรูปแบบรายงาน ทางAdminซึ่งเป็นหัวหน้าแผนกจะรับไปพิจารณาและส่งเป็นขั้นลำดับต่อไป ซึ่งเป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับแบบแผนที่2อยู่แล้ว

Be My Guest กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Be My Guest กล่าวว่า...

เรียน อาจารย์ พีรพร Be My Guest ขอส่งงาน
Quiz#2 ค่ะ

Employee Self Service (ESS)หมายถึง การที่ให้พนักงานในทุกระดับชั้นสามารถใช้งานโปรแกรมบริหารบุคคลด้วยตนเอง เช่น การขอลาหยุดทำงาน, การขอทำล่วงเวลา, การขอสวัสดิการ, การปรับเปลี่ยนประวัติข้อมูลส่วนตัว, การขอดูประวัติการปรับเงินเดือน และตำแหน่ง, ข้อมูลการอบรมและประวัติการอบรม, สถิติเวลาทำงาน, ประวัติการรับเงินเดือน และจ่ายภาษี, การขอกำลังพล และอื่น ๆ อีกมากมาย จากจุดนี้เอง ถ้าองค์กรใดได้นำเอาแนวความคิดนี้ไปปรับใช้ในการบริหารองค์กรนั้นสามารถลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการอย่างมากมาย เช่น การลดต้นทุนในส่วนของกระดาษ, การจัดส่งเอกสาร, เวลาในการติดต่อสื่อสาร และขั้นตอนในการทำงานที่ซ้ำซ้อน และที่สำคัญสะดวกในการให้บริการกับพนักงานในแบบ 24x7 คือ ตลอดวันตลอดสัปดาห์ไม่มีวันหยุดให้บริการ
แต่การที่จะทำให้แนวความคิดนี้ไม่เป็นเพียงแนวความคิดนั้น มีองค์ประกอบหลายประการที่ต้องคำนึงถึงดังนี้ ระบบรักษาความปลอดภัย, การออกแบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ให้รองรับจำนวนผู้ใช้งานมาก ๆ , ความเสถียรของระบบทั้ง Software และ Hardware และที่สำคัญที่สุดคือความพร้อมของผู้ใช้งาน เพราะในสมัยก่อนระบบ HR ได้ถูกออกแบบมาเพื่อให้บุคคลากรในฝ่าย HR ใช้งานเท่านั้น แต่ถ้าเป็น ระบบบริหารงานบุคคลในแบบ ESS นั้น ระบบจะต้องถูกออกแบบมาเพื่อให้พนักงานทั้งองค์กรเป็นผู้ใช้งานดังนั้นระบบจึงต้องออกแบบการใช้งานให้ง่าย และสะดวกกับพนักงานในทุก ๆ ฝ่าย

โครงสร้าง ESS ทั้ง 3 รูปแบบมีข้อดี และข้อเสียดังนี้

1.Direct to ERP

ข้อดีคือ
1.ผู้ใช้ สามารถดูข้อมูล และสามารถแก้ไขได้ง่าย
2.ประหยัดทรัพยากร
ข้อเสียคือ
1.ข้อมูลง่ายต่อการรั่วไหล
2.ระบบอาจมีปัญหาเมื่อมีผู้ใช้พร้อม ๆ กันเป็นจำนวนมาก ๆ

2.Indirect to ERP (Read only)

ข้อดีคือ
1.ต้องผ่านการใช้ Password ซึ่งเป็นการควบคุมข้อจำกัดของผู้ใช้
2.ผู้ใช้สารมารถอ่านข้อมูลส่วนตัวได้
ข้อเสียคือ
1.ไม่คล่องตัวสำหรับผุ้ใช้

3.Indirect to ERP or Application (Read and Write)

ข้อดี
1.ผู้ใช้สามารถอ่านและแก้ไขหรือเพิ่มเติมเป็นไปด้วยความสะดวก
2.ช่วยลดปริมาณเอกสาร
3.ความสะดวกสบายในการเข้าถึงข้อมูล
4.ช่วยลดปริมาณงานของ HR

ข้อเสีย
1.มีความเสี่ยงทางด้านความปลอดภัยของข้อมูล
2.ข้อมูลที่ได้อาจไม่ใช่ข้อมูลที่แท้จริง
3.อาจทำให้เกิดความล่าช้าในการทำงานในกรณีที่ผุ้ใช้ ๆ พร้อม ๆ กันจำนวนมาก

---------------------------

เนื่องจากบริษัทดำเนินธุรกิจการขนส่งครบวงจร จึงขอเลือก TYPE 3 เพราะเหตุผลดังนี้

1.บริษัทฯ สามารถดูข้อมูลภาพรวมของกิจการและสารมารถนำมากำหนดนโยบายหรือวางแผนปรับเปลี่ยนกลยุตย์ในการขับเคลื่อนองค์กรในยุคการแข่งขันที่รุนแรง
2.เกิดความคล่องตัวในการทำงาน เช่น พนักงานสามารถเรียกดูข้อมูลส่วนตัวได้ เช่น เรื่องของสวัสดิการ เป็นต้น
3.เพิ่มความคล่องตัวในการทำงานระหว่างแผนกเพราะว่าสามารถเข้าถึงข้อมูลที่สัมพันธ์กันของงานนั้น ๆ
4.ช่วยลดการทำงานของ HR ซึ่งสามารถเอาเวลาไปพัฒนาด้านอื่น ๆ ได้

ในการเลือก IMPLEMENT อย่างใดอย่างหนึ่งนั้น จะต้องดูความเหมาะสม ขนาด และนโยบายของแต่ละบริษัท หรือรูปแบบธุรกิจ และความต้องการของผู้บริหารเองด้วยเช่นกัน

ทั้งนี้ทั้งนั้นพนักงานเองต้องปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบันซึ่งต้องอาศัยระบบเทคโนโลยีการสื่ือสารเป็นปัจจัยหลัก

รายชื่อกลุ่ม

#501-04-5013 นางรจเรจ ปรีกราน
#501-04-5014 นางสาวณัฐกฤตา อรรถมานะ
#501-04-5019 นางชนัฎดา อัศวารักษ์
#501-04-5022 นางสาวชาลินี สร้อยศรี
#501-04-5036 นางสาวสุกัญญา พุ่มไพจิตร
#501-04-5037 นายอาทร พุ่มไพจิตร
#501-04-5048 นางณัฐฐา สุขภักตร์

Love_Yui:) กล่าวว่า...

เลือกType2 : Indirect to ERP or Application (Read only)
ด้วยเหตุผลคือ

1. ความสะดวก

2. ระบบ Security (ความปลอดภัย)

แม้จะเป็นองค์กรที่ไม่ใหญ่นัก แต่ก็เลือกที่จะยอมเสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงกว่าทางเลือกอื่น
เนื่องด้วย วิเคราะห์ความคุ้มค่าในระยะยาว ที่สำคัญคือ ความเสี่ยง อันมีผลต่อระบบข้อมูล

501 04 5007 นางสาว ศวิตา ประจวบแสง
501 04 5010 นาง วราพร เพ็ชรแสง
501 04 5012 นางสาว จิตติมา โประชู
501 04 5017 นายเสกสรร อัครวนาธร
501 04 5039 นางสาว วันเพ็ญ นิลนารถ
501 04 5043 นายกานต์เสถียร จงธรรมคุณ
501 04 5045 นายสุรพงษ์ สวัสดี

*** ขอส่งส่วนสำคัญก่อน ขออนุญาตมาตอบเพิ่มพรุ่งนี้นะคะ

Love_Yui:) กล่าวว่า...

เรียน อาจารย์ต่ะ

Employee Self Service (ESS)

หมายถึง ระบบจัดการข้อมูลพนักงาน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเวลาการทำงาน รวมถึงการพิจารณาอนุมัติตามสายงาน แบบ Online
โดยครอบคลุมการทำงานทั้งองค์กร เช่น
จัดการข้อมูลพนักงานในส่วนของเวลาการทำงาน
• ระบบการเข้า-ออกงาน
• ระบบการลางาน
• ระบบการทำงานล่วงเวลา
• ระบบตารางเวลา
• ระบบการแลกกะการทำงาน


– การพิจารณาอนุมติ request ต่างๆ
– ตรวจสอบ และแจ้งเตือน
– รายงาน และการพิมพ์รายงาน
– ค้นหา
– จัดการผู้ใช้, กลุ่มผู้ใช้ และการควบคุมสิทฺธิ์
– การตั้งค่าระบบ

ประโยชน์ที่ได้รับจากการนำระบบ ESS

– ช่วยผู้บริหารในการวิเคราะห์ จัดการงานด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคลได้อย่างมีประสิทธิผล
– พนักงานสามารถตรวจสอบข้อมูลส่วนตัว ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงข้อมูลส่วนตัวได้ด้วยตัวเอง
– พนักงานสามารถตรวจสอบเวลาการทำงาน การบันทึกเอกสารการลา เอกสารการขอทำงานล่วงเวลา และอื่นๆ ได้ด้วยตัวเอง
– สามารถจัดการเรื่อง workflow ต่างๆ ภายในองค์กรได้อย่างรวดเร็ว
– ช่วยลดความผิดพลาดในการจัดการข้อมูลด้านทรัพยากรบุคล และเพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการทำงาน
– ลดค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานโดยรวม


ข้อดีและข้อเสียของทั้ง 3 ระบบ

1.Type 1: Direct to ERP

ข้อดี
- สามารถ Control ข้อมูลของแต่ละบุคคลให้เป็น Center เดียวกันทั้งบริษัท ฯ หมายถึงทุกหน่วยงานหรือผู้ได้รับการ Authorized ในแต่ละ Level สามารถรับรู้ได้
- Inform ให้ทุกๆหน่วยงานทราบได้อย่างสะดวกและเปิดเผยทันที่

ข้อเสีย
- อาจพบปัญหาเรื่องความลับด้านงานบุคคลรั่วไหลมีปัญหาที่ระบบ Security เนื่องจาก User สามารถ Log-In เข้าที่ฐานข้อมูล
(Database) ที่เก็บข้อมูลของแต่ละบุคคลเอาไว้ได้โดยตรง หากระบบ ESS ดังกล่าวไม่มีระบบป้องกันที่ดีพอ

2. Type 2 : Indirect to ERP or Application (Read only)

ข้อดี
- สามารถระบุตัวตนและลำดับชั้นการเข้าถึงข้อมูลได้ดี โดยมีการ Log-In ด้วย User และ Password ผ่านระบบ E-Mail
- สามารุถจัดทำเช่นApplication Report ต่างๆ ของงานบุคคลได้หลากหลายมากขึ้น แยกจากกันโดยอิสระ
- เนื่องจาก Run ผ่าน ESS Base ดังนั้นหน่วยงานต่างๆ สามารถเพิ่ม Function ต่างๆ เช่น เพิ่ม Career Path ของฝ่ายขาย หรือการจัดกะของฝ่ายผลิต เป็นต้น

ข้อเสีย
- การวิเคราะห์หรือการคำนวณที่มีความยุ่งยากและมีข้อมูลปริมาณมากซึ่ง User ไม่สามารถดำเนินการเองได้
- การ Run ผ่าน ESS Base เดียวกัน อาจมีปัญหาความล่าช้า จึงขึ้นอยู่กับ Software ที่นำมา Run เช่น Program Window ต่างๆ ต้องเลือกให้ดีและเหมาะสม
- ค่าใช้จ่ายสูง

3. type 3 : Indirect to ERP or Application

ข้อดี
- เป็น Real-Time Read และ Writeได้

- update ข้อมูลได้ตลอดเวลา

ข้อเสีย
-เพราะระบบเปิดให้ User สามารถแก้ไขจะทำให้ไม่มีความแน่นอนของข้อมูล นำไปวิเคราะห์ได้ยาก

-มีปัญหาที่ระบบ Security

-การเปิดให้ Read and Write หากไม่มีการป้องกันข้ามหน่วยงานจะมีความยุ่งยากมากมาย

การ Implement ระบบ

ขึ้นอยู่กับขนาดขององค์กรและประเภทธุรกิจนั้น การนำ ระบบ ESS มาใช้จึงต้องใช้ความรอบคอบละเอียดอ่อนมาก ควรจัดหาบุคลากรที่มีความสามารถเฉพาะด้านเข้ามา อย่างเหมาะสมด้วย

เลือกType2 : Indirect to ERP or Application (Read only)
ด้วยเหตุผลคือ

1. ความสะดวก

2. ระบบ Security (ความปลอดภัย)

แม้จะเป็นองค์กรที่ไม่ใหญ่นัก แต่ก็เลือกที่จะยอมเสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงกว่าทางเลือกอื่น
เนื่องด้วย วิเคราะห์ความคุ้มค่าในระยะยาว ที่สำคัญคือ ความเสี่ยง อันมีผลต่อระบบข้อมูล

http://XmanLVOELY1919.blogspot.com กล่าวว่า...

ส่งงาน ด่ะ
Employee Self Service คือระบบบริหารงานบุคคล ระบบใหม่ ทางบริษัทฯ ได้พัฒนามาโดยทำงานภายใต้ Organization หรือ ตามผังองค์กร โยสามารถแบ่งระดับตามความเหมาะสม ที่ได้จัดทำขึ้เพื่อลดขั้นตอนการทำงานที่ซับซ้อน ด้วยระบบ Work Flow ตามระบบไปยังผู้รับภายในองค์กร เพื่อให้มีความสะดวกรวดเร็ว และตรวจสอบได้ พนักงานสามารถใช้ application ที่เกี่ยวข้องกับการงานข้อมูลของลูกจ้าง เช่น ข้อมูลส่วนตัว สวัสดิการ ค่าล่วงเวลา ค่าตอบแทนต่างๆ โดยทางบริษัทฯ สามารถกำหนดสิทธิการเข้าใช้ของพนักงานได้
โครงสร้าง 3 รูปแบบมีดังนี้
1.Direct to ERP
ข้อดี
1.ระบบมีขนาดเล็ก ทำให้ประหยัดทรัพยากร
2.การกำหนดฟังกืชันในการทำงานสามารถสร้างได้ง่าย
ข้อด้อย
1.การใช้งานมีความยุ่งยากในการจัดการ
2.วิธีการใช้งานกระทำได้ยาก
2.lndirect to ERP or other application Read only
ข้อดี
1.สามารถทำ application เช่น Report ต่างๆของงานบุคคลได้หลากหลาย แยกจากกันโดยอิสระ
ข้อเสีย
1.การวิเคราะห์หรือการคำนวณมีความยุ่งยากและมีข้อมูลปริมาณมากซึ่ง User ไม่สามารถดำเนินการเองได้
3.Lndirect to ERP or Application (Read and Write)
ข้อดี
1.เนื่องจาก Read ได้ Wrie ได้ จึงสะดวกเป็น Real-Time
2.update ข้อมูลได้ตลอดเวลา
ข้อเสีย
1.เพราะระบบเปิดให้ User สามารถแก้ไขจะทำไม่มีความแน่นอนของข้อมูล นำไปวิเคราะห์ได้ยาก
2.มีปัญหาที่ระบบ Secnity
การเลือก lmplement ระบบ
เลือก lndirect to ERP or (Read only)เพราะมีความสะดวกและปลอดภัยต่อการทำงานแม้เป็นองค์กรที่ไม่ใหญ่แต่ก็สามารถเลือกค่อนใช้จ่ายที่มีทางเลือกได้และยังสามารถวิเคราะห์ความมคุ้มค่าของการทำงานที่มีความเสี่ยงเป็นที่สำคัญอันมีผลต่อระบบข้อมูลการทำงานนั้นๆอีกด้วย
จัดทำโดย
1.นางสาว อันชรีย์ มากมูล (501-00-1461)
2.นางสาว กัลยาณี ฉิมมี (501-00-1462)

Peraporn C. กล่าวว่า...

*** ตรวจแล้วครับ

clubzuza กล่าวว่า...

หวัดดีค่ะอาจารย์ หนูอยู่กลุ่มที่เรียนวันเสาร์อะค่ะ คืองงอะค่ะ ว่าตกลงมีงานกี่งานแล้ว และอาจารย์เอาQuizไปโพสไว้ตรงไหนอะคะ งงหมดแล้วอะค่ะ อาจารย์ช่วยส่งลิ้งให้หน่อยนะคะที่อาจารย์โพสคำถามอะค่ะ

Peraporn C. กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
Peraporn C. กล่าวว่า...

*** เรียนวันเสาร์ มี 2 Quiz ครับ
#1 Sarah Moris
#2 TPS
ส่วน quiz#3 อ.อภิชาติ จะ Quiz Data flow diagram ในห้องเรียนครับ
วันเสาร์ ให้ดูที่ blog ba3312.blogspot.com
blog นี้วิชาba3108 เรียนวันอาทิตย์ ครับ

ประชาธิปไตยเบ่งบาน กล่าวว่า...

เรียน อ.พีรพร
ขอแจ้งการส่งงาน ระบบ ESS ได้ส่งในเมล์ Class3312@yahoo
ขอบคุณค่ะ

Peraporn C. กล่าวว่า...

*** ประชาธิปไตยเบ่งบานตรวจแล้วครับ

Jitti กล่าวว่า...

Quiz #2 Employee Self Services (ESS)
สมาชิกกลุ่ม
1.ภัทรภร ศุขสวัสดิ์ 492-04-1040
2.ปริญญา วจีปิยนันทานนท์ 492-04-1016
3.ปิติ ปัญญาวุฒิธรรม 492-04-1029
4.สิทธิโชติ เหลืองวรพันธ์ 492-04-1069
5.พงษ์นุรักษ์ บุญรักษ์ 492-04-1068
6.ชวลิต อิงคณานนท์ 492-04-1017
โครงสร้าง ESS รูปแบบที่ 1 DIRECT TO ERP
ข้อดี
1. มีฟังก์ชั่น เข้าไปดูข้อมูลตัวเองได้ USER สามารถเข้าดู แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลของตนเองได้ได้โดยตรง
2. ทำงานไม่ต้องมีเอกสาร ลดงานด้านการจัดเก็บเอกสาร ลดขั้นตอนการดำเนินงาน Inform ให้ทุกๆหน่วยงานทราบได้อย่างสะดวกและเปิดเผยทันที
3. เหมาะสำหรับบริษัท ที่มี License พร้อมอยู่แล้ว
4. ระบบมีขนาดเล็ก การกำหนดฟังก์ชันในการใช้งานสามารถสร้างได้ง่ายระบบไม่ซับซ้อน การลงทุนไม่สูง เหมาะกับองค์กรขนาดเล็ก ซึ่งทำให้ประหยัดทรัพยากรและประหยัดค่าใช้จ่ายสภาพแวดล้อม
5. สามารถ Control ข้อมูลของแต่ละบุคคลให้เป็น Center เดียวกันทั้งบริษัท ฯ หมายถึงทุกหน่วยงานหรือผู้ได้รับการ Authorized ในแต่ละ Level สามารถรับรู้ได้

ข้อด้อย
1. มีข้อจำกัด License ใน ERP ที่พนักงานเข้ามาทำรายการ ซึ่ง License USER จะตรงเข้าซอฟแวร์โดยตรง และ ERP ที่พนักงานเข้าทำรายการมีข้อจำกัดคือ ถ้าใช้งานพร้อมกันจะยุ่งยากมาก ระบบอาจเกิดการผิดพลาดในกรณีมีผู้ใช้งานจำนวนมาก เพราะมีข้อจำกัดด้าน License ที่เข้าสู่ ERP เนื่องจากเป็นแบบ direct ถ้ามีจำนวน user มาก ก็ต้องเสียค่า License มากด้วย เพราะค่า License มีราคาแพง จึงต้องมีการจัดสรรการใช้ที่ดีเมื่อมีผู้เข้ามาใช้พร้อม ๆ กันหลายคน
2. การใช้งานมีความยุ่งยากในการใช้ เพราะไม่มีในส่วยช่วยในการจัดการ User จะเข้ามาใช้ระบบน้อยอันเนื่องมาจากวิธีการใช้งานกระทำได้ยาก
3. ข้อนี้สำคัญที่สุด คือ มีปัญหาที่ระบบ Security เพราะเนื่องจาก User สามารถ Log-In เข้าที่ฐานข้อมูล (Database) ที่เก็บข้อมูลของแต่ละบุคคลเอาไว้ได้โดยตรง หากระบบ ESS ดังกล่าวไม่มีระบบป้องกันที่ ดีจะมีปัญหาเรื่องความลับด้านงานบุคคลรั่วไหล และข้อจำกัดในระบบ Security ในการป้องกันระบบ ความปลอดภัยหากพนักงานเก็บรักษา Password ของตนเองไม่ดีอาจมีผู้อื่นนำไปกลั่นแกล้งได้

โครงสร้าง ESS รูปแบบที่ 2 INDIRECT TO ERP OR THER APPLICATION READ ONLY
ข้อดี
1. พนักงานสามารถใช้เว็บบราวเซอร์ เพื่อค้นหาสารสนเทศออนไลน์ในเรื่องข้อมูลส่วนตัวได้ และอ่านข้อมูลเพื่อทราบขั้นตอนในการทำงาน และกระบวนการที่ต้องการได้ง่าย โดยมีการกำหนดสิทธิของพนักงานผ่าน PASSWORD เพื่อควบคุมการใช้ ซึ่งพนักงานสามารถเข้าไปดูและอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถแก้ไขได้ ทำให้มีความปลอดภัยในเรื่องของข้อมูลเพราะว่าพนักงานไม่สามารถแก้ไขข้อมูลของตนเองได้ ซึ่งพนักงานอาจใส่ข้อมูลที่ไม่ตรงตามความเป็นจริง
2. ระบบสามารถกำหนดสิทธิในการทำงานระบบให้กับ User ได้. มีการใช้ Password เพื่อควบคุมข้อมูลให้เป็นระบบมากขึ้น โดยผ่านผู้ควบคุม และมีการ Log-In ด้วย User และ Password ผ่านระบบ E-Mail สามารถระบุตัวตนและลำดับชั้นการเข้าถึงข้อมูลได้ดี
3. ระบบมีส่วนในการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นมาทำให้ User สามารถเข้าถึงฟังก์ชันการใช้งานได้ง่าย สามารถจัดทำ Application เช่น Report ต่างๆ ของงานบุคคลได้หลากหลาย แยกจากกันโดยอิสระ เนื่องจาก Run ผ่าน ESS Base ดังนั้นหน่วยงานต่างๆ สามารถเพิ่ม Function ต่างๆ เช่น เพิ่ม Career Path ของฝ่ายขาย หรือการจัดกะของฝ่ายผลิต เป็นต้น
4. ประหยัดค่า License เนื่องจากมีการสร้าง data base ขึ้นมาอีกตัวหนึ่ง ซึ่ง data base ที่สร้างขึ้นมาใหม่นี้จะเก็บข้อมูลบางส่วนไว้ทำให้เราดูข้อมูลได้จากตรงนี้ ซึ่ง data base ตัวนี้จะเชื่อมต่อไปยัง ERP โดยใช้เพียงแค่ 1 License เท่านั้น
5. เมื่อทำการ Maintenance ที่ ERP นั้น data base อีกตัวที่เราสร้างขึ้นมาก็ยังใช้งานได้อยู่ หรือถ้าหากเรา maintenance ที่ตัว data base ที่สร้างขึ้น ERP ก็ยังสามารถใช้ได้อยู่ไม่เกี่ยวข้องกัน ทำให้เกิดความคล่องตัวในการทำงาน

ข้อด้อย
1. บริษัทของเรามีโครงการเล็กไม่สามารถใช้ระบบได้ เพราะค่าลายเส้นแพงมาก ต้นทุนสูง
2. ระบบจะสามารถใช้งานแบบ Read only ซึ่งไม่สามารถปรับหรือเพิ่มการทำงานได้ทำให้มีข้อจำกัดในการใช้งานทำให้ข้อมูลบางส่วนไม่มีการอัพเดท การแก้ไขข้อมูลต้องดำเนินการโดย Admin ผู้ควบคุม บางครั้งอาจทำให้เกิดความล่าช้าและยังมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจากการสร้าง data base และในการ Run ผ่าน ESS Base เดียวกัน อาจมีปัญหาความล่าช้า จึงขึ้นอยู่กับ Software ที่นำมา Run เช่น Program Window ต่างๆ ต้องเลือกให้ดีและเหมาะสม
3.ระบบมีค่าใช้จ่ายมากขึ้นในส่วนของการบริหารจัดการรวมถึงการวิเคราะห์หรือการคำนวณที่มีความยุ่งยากและมีข้อมูลปริมาณมากซึ่งทำให้ User ไม่สามารถดำเนินการเองได้และนอกจากนั้นพนักงานดูและอ่านได้อย่างเดียว

โครงสร้าง ESS รูปแบบที่ 3 INDIRECT TO ERP OF OTHER APPLICATION
ข้อดี
1. เนื่องจาก Read ได้ และ Writeได้ จึงสะดวกเป็น Real-Time และ update ข้อมูลได้ตลอดเวลา ตามแต่ระดับความสำคัญของแต่ละ User ซึ่งช่วยลดความผิดพลาดในการจัดการ ข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคล ลดภาระด้านการจัดเก็บเอกสารและประหยัดเวลาในการบริหารจัดการด้านทรัพยากรบุคคล ทำให้เพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการทำงาน ลดค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานและรวมถึงให้พนักงานได้มีส่วนร่วมในการจัดการ แก้ไขข้อมูลส่วนตัว การลา การเบิกค่าใช้จ่ายสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลบางส่วนที่จะขออนุมัติได้
2. มีการเสนอความคิดเห็นในการฝึกอบรม การขอเข้าอบรมในหลักสูตรที่พนักงานเห็นว่าจำเป็นในการพัฒนาตัวเอง เพื่อให้เหมาะสมกับแผนอาชีพที่ตนเองวางไว้
3. ระบบมีส่วนในการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นมาทำให้ User สามารถเข้าถึงฟังก์ชันการใช้งานได้ง่าย ซึ่งสามารถกำหนดสิทธิของ User อย่างชัดเจนในการทำงานระบบได้ และ ระบบสามารถปรับปรุง-เพิ่มฟังก์ชันการทำงานทำให้ระบบมีความเสถียรภาพ ใช้ได้กับกิจการที่มีแผนกจำนวนมาก และมีขั้นตอนในการทำงานมาก ระบบจะสามารถปรับ-แก้ไข-เพิ่มเติม ให้
4. ประหยัดค่า License เนื่องจากมีการสร้าง data base ขึ้นมาอีกตัวหนึ่ง ซึ่ง data base ที่สร้างขึ้นมาใหม่นี้จะเก็บข้อมูลบางส่วนไว้ทำให้เราดูข้อมูลได้จากตรงนี้ ซึ่ง data base ตัวนี้จะเชื่อมต่อไปยัง ERP โดยใช้เพียงแค่ 1 License เท่านั้น

ข้อด้อย
1. มีการเข้าไปแก้ไขข้อมูลได้บางครั้ง ทำให้พนักงานให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความจริงทำให้เราต้อง UP DATE ตลอดเวลา
2.การที่มีขั้นตอนมากทำให้ขบวนการทำงานช้าไม่รวดเร็วอาจล่าช้าและใช้ค่าใช้จ่ายสูงเนื่องจากมีการดำเนินการหลายขั้นตอนและในการลงทุนค่อนข้างสูงกับการรองรับปริมาณผู้ใช้ระบบและนอกจากนั้นระยะเวลาในการเตรียมระบบนานทำให้ระบบมีค่าใช้จ่ายมากขึ้นในส่วนของการบริหารจัดการ
3.ต้องมีผู้ดูแลระบบที่มีความเชี่ยวชาญเพราะระบบเปิดให้ User สามารถแก้ไขจะทำให้ไม่มีความแน่นอนของข้อมูล นำไป
วิเคราะห์ได้ยากและรวมถึงยังมีปัญหาที่ระบบ Security ซึ่งในการเปิดให้ Read and Write หากไม่มีการป้องกันข้ามหน่วยงานจะมีความยุ่งยากมากมาย

ถ้าท่านเลือก Implement ในบริษัทของท่าน จะเลือกรูปแบบไหน? เพราะอะไร ?
เลือกแบบที่ 3 คือ INDIRECT TO ERP OF OTHER APPLICATION เนื่องจาก บริษัทเป็นบริษัทขนาดใหญ่ มีจำนวนแผนกมากดังนั้นการเลือกแบบที่ 3 จึงมีความคุ้มค่า รวมทั้งยังรองรับการขยายตัวขององค์กรในอนาคตได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมี Applications ต่างๆ ของแต่ละแผนก ดังนั้นการเลือก แบบที่3 จึงเหมาะสมกว่าแบบที่ 1 และ 2

Unknown กล่าวว่า...

Quiz #2 Employee Self Services (ESS)
สมาชิกกลุ่ม
1.อาทร สมนิยาม 492-04-1024
2.สุบดินทร์ ประกิตติกุล 492-04-1026
3.ราเมศ พาพิมพ์ 492-04-1048
4.ชัชชญา วัชรกิตติกร 492-04-1060
5.คุณรุจรวี พุทธรังษีวงศ์ 492-04-1046
6.คุณสันติภาพ จันทรวิเศษ 492-04-1047

โครงสร้าง ESS รูปแบบที่ 1 DIRECT TO ERP
ข้อดี
1. USER สามารถเข้าดู แก้ไข ข้อมูลได้โดยตรงมีการกำหนดฟังก์ชันในการใช้งานสามารถสร้างได้ง่าย ลดขั้นตอนการดำเนินงานไม่ต้องมีเอกสาร สามารถเข้าไปดูและขอใช้บริการ พร้อมทั้งแก้ไขในระบบได้ด้วยตนเอง
2. ระบบไม่ซับซ้อน การลงทุนไม่สูง เหมาะกับองค์กรขนาดเล็ก ที่มีลายเส้นพร้อมอยู่แล้ว
ประหยัดทรัพยากรและค่าใช้จ่ายสภาพแวดล้อม
3. สามารถ Control ข้อมูลของแต่ละบุคคลให้เป็น Center เดียวกันทั้งบริษัท ฯ หมายถึงทุกหน่วยงานหรือผู้ได้รับการ Authorized ในแต่ละ Level สามารถรับรู้ได้ Inform ให้ทุกๆหน่วยงานทราบได้อย่างสะดวกและเปิดเผยทันที

ข้อด้อย
1. มีข้อจำกัดด้าน License ที่เข้าสู่ ERP เนื่องจากเป็นแบบ Direct ถ้ามีจำนวน user มาก ก็ต้องเสียค่า License มากด้วย เพราะค่า License มีราคาแพง
2. ถ้าใช้งานพร้อมกันทีเดียวจะยุ่งยาก ระบบอาจเกิดการผิดพลาดในกรณีมีผู้ใช้งานจำนวนมาก ต้องมีการจัดสรรการใช้ที่ดี ทำให้User จะเข้ามาใช้ระบบน้อยการใช้งานมีความยุ่งยากในการใช้ เพราะไม่มีในส่วนช่วยในการจัดการ
3.ข้อนี้สำคัญที่สุด คือ มีปัญหาที่ระบบ Security เพราะเนื่องจาก User สามารถ Log-In เข้าที่ฐานข้อมูล (Database) ที่เก็บข้อมูลของแต่ละบุคคลเอาไว้ได้โดยตรง หากระบบ ESS ดังกล่าวไม่มีระบบป้องกันที่ ดีจะมีปัญหาเรื่องความลับด้านงานบุคคลรั่วไหล เกี่ยวกับความปลอดภัยในการป้องกันระบบ หากพนักงานเก็บรักษา Password ของตนเองไม่ดีอาจมีผู้อื่นนำไปกลั่นแกล้งได้










โครงสร้าง ESS รูปแบบที่ 2 INDIRECT TO ERP OR THER APPLICATION READ ONLY
ข้อดี
1. พนักงานสามารถใช้เว็บบราวเซอร์ อ่านข้อมูลเพื่อทราบขั้นตอนในการทำงาน และกระบวนการที่ต้องการได้ง่ายเพื่อค้นหาสารสนเทศออนไลน์ในเรื่องข้อมูลส่วนตัวได้มีความปลอดภัยในเรื่องของข้อมูลเพราะพนักงานสามารถเข้าไปดูและอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถแก้ไขได้ว่าพนักงานไม่สามารถแก้ไขข้อมูลของตนเองได้ ซึ่งพนักงานอาจใส่ข้อมูลที่ไม่ตรงตามความเป็นจริง
2. ระบบมีส่วนในการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นมามีการ Log-In ด้วย User และ Password ผ่านระบบ E-Mail สามารถระบุตัวตนและลำดับชั้นการเข้าถึงข้อมูลได้ดี Application เช่น Report ต่างๆ ของงานบุคคลได้หลากหลาย แยกจากกันโดยอิสระทำให้ User สามารถเข้าถึงฟังก์ชันการใช้งานได้ง่าย มีการกำหนดสิทธิใช้ Password เพื่อควบคุมข้อมูลให้เป็นระบบมากขึ้น โดยผ่านผู้ควบคุม
3. ประหยัดค่า License เนื่องจากมีการสร้าง data base ขึ้นมาอีกตัวหนึ่ง ซึ่ง data base ที่สร้างขึ้นมาใหม่นี้จะเก็บข้อมูลบางส่วนไว้ทำให้เราดูข้อมูลได้จากตรงนี้ ซึ่ง data base ตัวนี้จะเชื่อมต่อไปยัง ERP โดยใช้เพียงแค่ 1 License เท่านั้น
4. เมื่อทำการ maintenance ที่ ERP นั้น data base อีกตัวที่เราสร้างขึ้นมาก็ยังใช้งานได้อยู่ หรือถ้าหากเรา maintenance ที่ตัว data base ที่สร้างขึ้น ERP ก็ยังสามารถใช้ได้อยู่ไม่เกี่ยวข้องกัน ทำให้เกิดความคล่องตัวในการทำงานเนื่องจาก Run ผ่าน ESS Base ดังนั้นหน่วยงานต่างๆ สามารถเพิ่ม Function ต่างๆ เช่น เพิ่ม Career Path ของฝ่ายขาย หรือการจัดกะของฝ่ายผลิต เป็นต้น

ข้อด้อย
1. บริษัทเพิ่งจะเริ่มต้น ไม่คุ้นเคย ในระบบ IT นี้มีโครงการเล็กไม่สามารถใช้ระบบได้ เพราะค่าลายเส้นแพงมากจากการสร้าง data base ต้นทุนสูงระบบมีค่าใช้จ่ายมากขึ้นในส่วนของการบริหารจัดการ
2.ข้อจำกัดในการใช้ระบบแบบ Read only อ่านได้อย่างเดียวซึ่งไม่สามารถแก้ไขปรับหรือเพิ่มการทำงานได้การวิเคราะห์หรือการคำนวณที่มีความยุ่งยากทำให้มีข้อจำกัดในการใช้งาน การแก้ไขข้อมูลต้องดำเนินการโดย Adminผู้ควบคุม บางครั้งอาจทำให้เกิดความล่าช้าไม่มีการอัพเดท
3. การ Run ผ่าน ESS Base เดียวกัน อาจมีปัญหาความล่าช้า จึงขึ้นอยู่กับ Software ที่นำมา Run เช่น Program Application Window ต่างๆ ต้องเลือกให้ดีและเหมาะสม






โครงสร้าง ESS รูปแบบที่ 3 INDIRECT TO ERP OF OTHER APPLICATION

ข้อดี

1. มีการเสนอความคิดเห็นในการฝึกอบรม การขอเข้าอบรมในหลักสูตรที่พนักงานเห็นว่าจำเป็นในการพัฒนาตัวเอง เพื่อให้เหมาะสมกับแผนอาชีพที่ตนเองวางไว้ ได้มีส่วนร่วมในการจัดการอ่านได้เขียนได้ แก้ไขข้อมูลส่วนตัวได้ตามแต่ระดับความสำคัญของแต่ละUSER การลา การเบิกค่าใช้จ่ายสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลบางส่วนที่จะขออนุมัติได้สามารถดูและเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลได้ทำให้ข้อมูลมีการอัพเดทตลอดเวลา
2. ระบบมีกำหนดสิทธิในการทำงานส่วนในการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นมาระบบสามารถปรับปรุง-เพิ่มฟังก์ชันการทำงานทำให้ระบบมีความเสถียรภาพ ใช้ได้กับกิจการที่มีแผนกจำนวนมาก และมีขั้นตอนในการทำงานมาก ระบบจะสามารถปรับ-แก้ไข-เพิ่มเติม ให้ทำให้ User สามารถเข้าถึงฟังก์ชันการใช้งานได้ง่ายช่วยลดความผิดพลาดในการจัดการ ข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคล และเพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการทำงาน ลดค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน ลดภาระด้านการจัดเก็บเอกสาร ประหยัดเวลาในการบริหารจัดการด้านทรัพยากรบุคคล
3.ระบบมีการกำหนดสิทธิของพนักงานชัดเจน ตาม Workflow ที่กำหนดระบบสามารถเข้าไปแก้ไขข้อมูล เพิ่มเติมได้ระบบมีการจัดการมากขึ้น ง่ายต่อการใช้ ระบบมีความเสถียรภาพมากขึ้น ตามจำนวนผู้ใช้เนื่องจาก Read ได้ และ Writeได้ จึงสะดวกเป็น Real-Time update ข้อมูลได้ตลอดเวลา
4.ประหยัดค่า License เนื่องจากมีการสร้าง data base ขึ้นมาอีกตัวหนึ่ง ซึ่ง data base ที่สร้างขึ้นมาใหม่นี้จะเก็บข้อมูลบางส่วนไว้ทำให้เราดูข้อมูลได้จากตรงนี้ ซึ่ง data base ตัวนี้จะเชื่อมต่อไปยัง ERP โดยใช้เพียงแค่ 1 License เท่านั้น


ข้อด้อย
1. การเปิดให้ Read and Write หากไม่มีการป้องกันข้ามหน่วยงานจะมีความยุ่งยากมากมายมีปัญหาที่ระบบ Security
2. การที่พนักงานเข้าไปแก้ไขข้อมูลส่วนตัวบ่อยๆทำให้ข้อมูลที่ได้ไม่ตรงกับความจริง ทำให้เราต้อง
UP DATE ตลอดเวลา บางครั้งมีขั้นตอนมาก ทำให้ขบวนการทำงานช้า
3.ค่าใช้จ่ายในการลงทุนค่อนข้างสูงระบบมีค่าใช้จ่ายมากขึ้นมีการดำเนินการหลายขั้นตอน ในส่วนของการบริหารจัดการกับการรองรับปริมาณของผู้ใช้งาน
4.ต้องมีผู้ดูแลระบบที่มีความเชี่ยวชาญเพราะระบบเปิดให้ User สามารถแก้ไขจะทำให้ไม่มีความแน่นอนของข้อมูล นำไปวิเคราะห์ได้ยากระยะเวลาในการเตรียมระบบนาน


ถ้าท่านเลือก Implement ในบริษัทของท่าน จะเลือกรูปแบบไหน? เพราะอะไร ?
หากต้องนำไป Implement ในหน่วยงานของผม เนื่องจาก หน่วยงานของผมเป็น องค์กรขนาดเล็ก มีพนักงานไม่มาก โครงสร้างที่เหมาะควรจะเป็นโครงสร้างแบบที่ 1 คือ แบบ DIRECT TO ERP เนื่องจาก ประหยัดค่าใช้จ่าย และจำนวนผู้ใช้งานไม่เยอะ

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

Quiz #2 Employee Self Services (ESS)
จัดทำโดย
นายเตชนิธิ สำเนียงดี รหัส 493-04-1066

สวัสดีครับอาจารย์ ผมขอส่งงานครับ

Employee Self Service (ESS) หมายถึงระบบการบริหารงานบุคคลระบบใหม่ที่ให้พนักงานในทุกระดับสามารถใช้งานโปรแกรมบริหารบุคคลด้วยตนเองเช่น การขอลาหยุดทำงาน การขอทำล่วงเวลา การขอสวัสดิการ การขอดูประวัติการปรับเงินเดือนและตำแหน่ง และอื่น ๆ ซึ่งระบบนี้จัดทำขึ้นเพื่อลดขั้นตอนการทำงานที่ซับซ้อนให้มีความสะดวกรวดเร็ว และตรวจสอบได้ ซึ่งมีองค์ประกอบที่ต้องคำนึงถึง คือ ระบบรักษาความปลอดภัย การออกแบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์เพื่อรองรับการใช้งานของผู้ใช้งานจำนวนมาก ความเสถียรของระบบทั้ง Software และ Hardware และที่สำคัญคือความพร้อมของผู้ใช้งาน เนื่องจากระบบถูกออกแบบมาเพื่อให้พนักงานทุกระดับเป็นผู้ใช้งานดังนั้นระบบจึงต้องออกแบบรูปแบบการใช้งานที่ง่ายและสะดวกกับผู้ใช้งาน

โครสร้างของ ESS ทั้ง 3 รูปแบบมีข้อดี-ข้อด้อย ดังนี้
รูปแบบที่ 1 Direct to ERP
ข้อดี
- พนักงานสามารถเข้าดูและแก้ไขข้อมูลได้ด้วยตนเองทำให้มีการ update ข้อมูลตลอดเวลา
- เหมาะสมกับองค์กรขนาดเล็ก
- ลดภาระงานด้านการจัดเก็บเอกสาร
- เนื่องจากเป็นระบบที่มีขนาดเล็กทำให้ประหยัดทรัพยากร
- ระบบการทำงานไม่ซับซ้อน
- เหมาะสมกับหน่วยงานที่มีลายเส้นอยู่แล้ว
ข้อเสีย
- ระบบอาจเกิดความผิดพลาดหากมีผู้ใช้งานพร้อมกันจำนวนมาก ๆ
- หากไม่มีระบบ Security ที่ดีพอ จะทำให้สามารถเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลรวมทั้งสามารถแก้ไขข้อมูลต่างๆ ได้ด้วย
รูปแบบที่ 2 Indirect to ERP or Other Application Read Only
ข้อดี
- พนักงานสามารถใช้สารสนเทศค้นหาข้อมูลส่วนตัวได้
- พนักงานสามารถอ่านข้อมูลขั้นตอนการทำงาน และกระบวนการดำเนินงานได้ง่าย
- มีการใช้ Password เพื่อป้องกันข้อมูลที่อาจเสียหาย
- การแก้ไขข้อมูลต่าง ๆ จะต้องผ่านผู้ดูแลระบบเท่านั้น
ข้อเสีย
- พนักงานสามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียวไม่สามารถ update ข้อมูลได้
- มีค่าใช้จ่ายด้านต้นทุนสูง
- มีข้อจำกัดในการใช้งาน
- การแก้ไขข้อมูลจะต้องดำเนินการผ่านผู้ดูแลระบบเท่านั้น ซึ่งอาจเกิดความล่าช้าของข้อมูล
รูปแบบที่ 3 Indirect to ERP or Other Application
ข้อดี
- พนักงานมีส่วนร่วมในการจัดการข้อมูล รวมทั้งยังสามารถแก้ไขข้อมูลบางส่วนตามระดับความสำคัญของผู้ใช้
- สามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับด้านการพัฒนาตนเอง เช่น การรับการฝึกอบรม
- ข้อมูลมีความทันสมัย เนื่องจากมีการ update ข้อมูล
- สามารถตรวจสอบผู้ใช้งานได้จาก Password
ข้อเสีย
- มีขั้นตอนมาก ทำให้อาจเกิดความล่าช้า
- ต้องมีเจ้าหน้าที่ดูแล update ข้อมูลตลอดเวลา เนื่องจากมีการเข้ามาแก้ไขปรับปรุงข้อมูล
- ไม่สามารถนำข้อมูลมาวิเคราะห์ผลที่แน่นอนได้ เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนข้อมูลตลอดเวลา
- จำเป็นต้องมีการวิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูลก่อนนำไปใช้ เนื่องจากข้อมูลที่ได้มาอาจมีความคลาดเคลื่อน

ถ้าท่านเลือก Implement ในบริษัทของท่าน จะเลือกรูปแบบไหน เพราะอะไร

เลือกรูปแบบที่ 2 คือ Indirect to ERP or Other Application Read Only เนื่องจากถึงแม้ว่าจะมีต้นทุนที่สูง แต่สามารถที่จะควบคุมดูแลการใช้งานได้ เพราะต้องมี Password ป้องกันการแก้ไขข้อมูล รวมทั้งยังแสดงข้อมูลของผู้ Log in ทำให้สามารถตรวจสอบผู้ใช้งานได้ ซึ่งในบริษัทเป็นหน่วยงานที่มีพนักงานจำนวนมาก จำเป็นต้องมีการรักษาความปลอดภัยให้ข้อมูล ซึ่งหากนำรูปแบบที่ 1 และรูปแบบที่ 3 มาใช้อาจเกิดความเสียหายของข้อมูลเนื่องจากผู้ใช้สามารถเปลี่ยนแปลงและแก้ไขข้อมูลได้ด้วยตนเอง

Peraporn C. กล่าวว่า...

**** ส่งช้ามาก แต่ตรวจให้แล้วครับ

Unknown กล่าวว่า...

QUIZ#2 Employee Self Services (ESS)

ธัญญ์ ธรรมสุคติ 492-04-1011
จิดาภา บัวจรูญ 492-04-1018
ยรรยง สาชนะ 492-04-1019
เศรษฐภักดิ์ กุลจิรายุ 492-04-1022
เจษฎา อู่ทรัพย์ 492-04-1042
ไพโรจน์ วิริยะดีตระกูล 492-04-1062

ERP ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning หมายถึง การวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรโดยรวม เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์

อย่างสูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรEmployee
Self Service (ESS) คือ ระบบการบริหารงานบุคคล ระบบใหม่ ทางบริษัทฯ ได้พัฒนามาโดยทำงานภายใต้ Organization หรือ ตามผังองค์กร

โดยสามารถแบ่งระดับตามความเหมาะสม ที่ได้จัดทำขึ้นมาเพื่อลดขั้นตอนการทำงานที่ซ้ำซ้อน ด้วยระบบ Work Flow ตามระบบไปยังผู้รับภาย

ในองค์กร เพื่อให้มีความสะดวกรวดเร็ว และตรวจสอบได้ พนักงานสามารถใช้ application ที่เกี่ยวข้องกับการงานข้อมูลของลูกจ้าง เช่น ข้อมูล

ส่วนตัว สวัสดิการ ค่าล่วงเวลา ค่าตอบแทนต่างๆ โดยทางบริษัทฯ สามารถกำหนดสิทธิการเข้าใช้ของพนักงานได้
ระบบ ESS มี 3 รูปแบบ โดยให้บอกข้อดีข้อด้อย
แบบที่ 1 เป็นแบบที่ Direct to ERP
ข้อดี
1.ระบบมีความซับซ้อนน้อยทำให้ประหยัดค่าใช้จ่าย
2.การกำหนดฟังก์ชันในการใช้งานสามารถสร้างได้ง่าย
ข้อด้อย
1.การใช้งานมีความยุ่งยากใช้งานยาก เพราะไม่มีในส่วยช่วยในการจัดการ
2.User จะเข้ามาใช้ระบบน้อยอันเนื่องมาจากวิธีการใช้งานกระทำได้ยาก
แบบที่ 2 เป็นแบบ Indirect to ERP or other application Read only
ข้อดี
1.ระบบมีส่วนในการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นมาทำให้ User สามารถเข้าถึงฟังก์ชันการใช้งานได้ง่าย
2.ระบบสามารถกำหนดสิทธิในการทำงานระบบให้กับ User ได้
3.สามารถกำหนดให้มีส่วนต่างๆ แยกออกจากกัน ทำให้ใช้งานได้ง่าย
ข้อด้อย
1.ระบบมีค่าใช้จ่ายมากขึ้นในส่วนของการบริหารจัดการ
2.ระบบจะสามารถใช้งานแบบ Read only ซึ่งไม่สามารถปรับหรือเพิ่มการทำงานได้ทำให้มีข้อจำกัดในการใช้งาน
แบบที่ 3 เป็นแบบ Indirect to ERP or other application
ข้อดี
1.ระบบมีส่วนในการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นมาทำให้ User สามารถเข้าถึงฟังก์ชันการใช้งานได้ง่าย
2.ระบบสามารถกำหนดสิทธิในการทำงานระบบให้กับ User ได้
3.สามารถกำหนดให้มีส่วนต่างๆ แยกออกจากกัน ทำให้ใช้งานได้ง่าย และระบบสามารถปรับปรุง-เพิ่มฟังก์ชันการทำงานทำให้ระบบมีความ

เสถียรภาพ ใช้ได้กับกิจการที่มีแผนกจำนวนมาก และมีขั้นตอนในการทำงานมาก ระบบจะสามารถปรับ-แก้ไข-เพิ่มเติม ให้
ข้อด้อย
1.ระบบมีค่าใช้จ่ายมากขึ้นในส่วนของการบริหารจัดการ
2.ต้องมีผู้ดูแลระบบที่มีความเชี่ยวชาญ
ถ้าท่านเลือก Implement ในบริษัทของท่าน จะเลือกรูปแบบไหน? เพราะอะไร ?
-เลือกใช้แบบที่ 3 เนื่องมากจากในบริษัทมีแผนกที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก โดยมีฟังก์ชันในการใช้งานในแต่ละแผนกที่แตกต่างกัน และระบบงาน

จะมีการเพิ่มข้อมูลอยู่ตลอดเวลา จึงจำเป็นที่จะต้องมีส่วนบริหารจัดการ ESS และต้องมีการกำหนดสิทธิของพนักงานในการใช้งานด้วย โดย

ระบบมีการเตรียมรองรับการปรับหรือเพิ่มฟังก์ชันสำหรับในอนาคต และทางบริษัทประกอบกิจการเกี่ยวกับทางด้าน IT จึงมีพนักงานที่มีความรู้

ความสามารถในการบริหารระบบได้ทั้งทางด้านอุปกรณ์ และโปรแกรมโดยไม่ต้องจ้างผู้ดูแลระบบมาโดยเฉพาะ

Peraporn C. กล่าวว่า...

**ตรวจแล้วครับ

hiherb กล่าวว่า...

เรียนอาจารย์พีรพรที่เคารพ กลุ่ม HiHeRb ของส่ง Quiz 2 ค่ะ รบกวนอาจารย์ช่วยตรวจและช่วยชี้แนะด้วยนะคะ ทางกลุ่มจะรอเปิดดูค่ะ เนื่องจากในกลุ่มไม่มีใครชำนาญในการใช้ blog เลยค่ะ
,,,,,,,,,,,กราบขออภัยอีกครั้งค่ะที่ส่งช้านะคะ

hiherb กล่าวว่า...

รายชื่อ
1.น.ส.อมรรัตน์ ศุภรักษ์จินดา 492-04-1007
2. นายกวิน ไชยมงคล 492-04-1027
3. นายประกิต ปรีสมัย 493-04-1067
4. นายก้องหล้า นิไชยโยค 493-04-1049
5. นายวุฒิชัย ดียิ่ง 503-04-5044

ระบบบริหารข้อมูลด้วยตัวพนักงานเอง Employee Self Services (ESS)
ระบบบริหารข้อมูลด้วยตัวพนักงานเอง (ESS) ตนเองคือระบบที่อนุญาตให้พนักงานสามารถเรียกดูหรือปรับปรุงข้อมูลส่วนตัวให้ทันสมัยอยู่ได้ด้วย เช่น การดูระเบียบและข้อบังคับในการปฏิบัติงาน, ข้อมูลสถิติการลางานของตนเอง , ข้อมูลด้านการจ้างงานและเงินเดือน ข่าวสารใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ,ปฏิทินกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร ตารางวันหยุด-วันทำงานขององค์กร , ขั้นตอนการปฏิบัติในองค์กร เช่น การลาประเภทต่างๆ ระเบียบเกี่ยวกับการใช้สวัสดิการ , ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การติดต่อกับหน่วยงานราชการ , ด้านภาษีเงินได้ สิทธิเกี่ยวกับประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทน เป็นต้น โดยผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ Web Browser หรือ Intranet ที่องค์กรจัดไว้หรืออาจแบ่งระบบจัดการข้อมูลพนักงาน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเวลาการทำงาน รวมถึงการพิจารณาอนุมัติตามสายงาน แบบ Online โดยครอบคลุมการทำงานทั้งองค์กร เช่น จัดการข้อมูลพนักงานในส่วนของเวลาการทำงาน ดังนี้ ระบบการเข้า-ออกงาน , ระบบการลางาน , ระบบการทำงานล่วงเวลา , ระบบตารางเวลา และ ระบบการแลกกะการทำงาน
ข้อดีและข้อเสียของทั้ง 3 ระบบ

1.Type 1: Direct to ERP

ข้อดี 1.ระบบมีขนาดเล็ก ทำให้ประหยัดทรัพยากรและค่าใช้จ่าย
2.ระบบไม่ซับซ้อน การลงทุนต่ำ
3.พนักงานสามารถเข้าดูและแก้ไขข้อมูลได้ด้วยตนเองทำให้มีการ update ข้อมูลตลอดเวลา
4. การกำหนดฟังก์ชันในการใช้งานสามารถสร้างได้ง่าย
5. เหมาะสำหรับบริษัท ที่มี License แล้ว
ข้อเสีย 1.ต้องมีการจัดสรรการใช้ที่ดีเมื่อมีผู้เข้ามาใช้พร้อม ๆ กันหลายคน
2.ระบบความปลอดภัยของข้อมูล อาจมีปัญหาข้อมูลรั่วไหลได้
3.มีข้อจำกัด License ใน ERP ที่พนักงานเข้ามาทำรายการ

2.Type 2 : Indirect to ERP

ข้อดี 1.มีการใช้ Password เพื่อป้องกันข้อมูลที่อาจเสียหาย
2.การแก้ไขข้อมูลต่าง ๆ จะต้องผ่านผู้ดูแลระบบเท่านั้น
3.พนักงานสามารถอ่านข้อมูลเพื่อทราบขั้นตอนในการทำงาน และกระบวนการที่ต้องการได้ง่าย
ข้อเสีย 1.การแก้ไขข้อมูลต้องดำเนินการโดยผู้บริหารหรือผู้ควบคุม
2.ระบบมีค่าใช้จ่ายมากขึ้นในส่วนของการบริหารจัดการ

3. Type 3 : Indirect to ERP
ข้อดี 1.ระบบมีส่วนในการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นมาทำให้ User สามารถเข้าถึงฟังก์ชันการใช้งานได้ง่าย
2. สามารถ update ข้อมูลได้ตลอดเวลา
3.ระบบสามารถเข้าไปแก้ไขข้อมูล เพิ่มเติมได้
4.ระบบมีการกำหนดสิทธิของพนักงานชัดเจน ตาม Workflow ที่กำหนด
5.ระบบมีความเสถียรภาพมากขึ้น ตามจำนวนผู้ใช้
ข้อเสีย 1.การที่มีขั้นตอนมากทำให้ขบวนการทำงานช้าไม่รวดเร็วอาจล่าช้าและใช้ค่าใช้จ่ายสูง
2.ต้องมีผู้ดูแลระบบที่มีความเชี่ยวชาญเพราะระบบเปิดให้ User สามารถแก้ไขจะทำให้ไม่มีความแน่นอนของข้อมูล

การ Implement ระบบ ทางกลุ่มขอเลือก Type 3 เพราะเหตุผลดังนี้
1. เนื่องจากข้อมูลของฝ่าย HR อาจมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอดังนั้น Type 3จะสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลงข้อมูล คือ สามารถ update ได้ตลอดเวลารวมถึงมีการบริหารจัดการฐานข้อมูลอย่างมีระบบ ช่วยผู้บริหารสามารถได้รับข้อมูลที่ถูกต้องภายในเวลาที่รวดเร็ว อีกทั้งยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ และบริหารงานของระดับด้านบริหาร
2.บริษัทฯ สามารถดูข้อมูลภาพรวมของกิจการและสารมารถนำมากำหนดนโยบายหรือวางแผนปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการขับเคลื่อนองค์กรในยุคการแข่งขันที่รุนแรง
3.เกิดความคล่องตัวในการทำงาน เช่น พนักงานสามารถเรียกดูข้อมูลส่วนตัวได้
4.เพิ่มความคล่องตัวในการทำงานระหว่างแผนกเพราะว่าสามารถเข้าถึงข้อมูลที่สัมพันธ์กันของงานนั้น ๆ
5.ช่วยลดการทำงานของ HR

นอกจากนี้ ในการเลือก IMPLEMENT นั้น ควรจะต้องคำนึงถึง ขนาด ความเหมาะสม รูปแบบธุรกิจ นโยบายของแต่ละบริษัท และความต้องการของผู้บริหารด้วย

hiherb กล่าวว่า...

รบกวนอาจารย์ช่วยตรวจอีกครั้งค่ะ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงรายชื่อกลุ่ม (ใส่ชื่อผิดคนอ่ะค่ะ -_-)

Peraporn C. กล่าวว่า...

*** ดูแล้วครับ

ภิญญดา บ้าน818 กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
gayosha กล่าวว่า...

ได้ส่ง quiz1 ใหม่ย้อนหลัง http://u3.upload.sanook.com/A0/f5760d6ba9559c0ece2afe96dbecbc6a
ต้องขออภัยอาจารย์ด้วยที่ไม่สามารถส่งในอิเมล์ให้ได้ไม่ทราบว่าเป็นเพราะสาเหตุอะไร
จากกลุ่ม smell 1 (beaytygangs.blogspot.com)

Peraporn C. กล่าวว่า...

*** Load มาแล้วอ่านไม่ได้ พิมพ์ส่งมาฝากไว้ที่เจ้าหน้าที่โครงการ ดีกว่าครับ

Jitti กล่าวว่า...

เรียนอาจารย์ พีระพร

มีนักศึกษาฝากส่งงานมาที่ blog Tarawadee
ครับ รบกวนอาจารย์ ช่วยตรวจให้นักศึกษาด้วยนะครับ


ขอบคุณครับ

Peraporn C. กล่าวว่า...

*** คุณจเร ไปไหนมาครับ